ครั้งที่ 13
วันพุธ ที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นวันที่นำผลงานสื่อเกี่ยวกับแผงไข่มาจัดนิทรรศการ
วันพฤหัสบดีที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ครั้งที่ 10
วันพฤหัสบดี ที่ 29 มีนาคม พ.ศ 2561
ความรู้ที่ได้รับ
นางสาว จีรนันท์ ไชยชาย นำเสนอวิจัยเรื่อง การศึกษาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณ์เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้าน
วันพฤหัสบดี ที่ 29 มีนาคม พ.ศ 2561
ความรู้ที่ได้รับ
นางสาว จีรนันท์ ไชยชาย นำเสนอวิจัยเรื่อง การศึกษาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณ์เกี่ยวกับอาหารพื้นบ้าน
นางสาว ประภัสสร แทนด้วง นำเสนอการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์เรื่อง คณิตฯ ตัวเลข และเด็กอนุบาล
กิจกรรมสุดท้าย อาจารย์ให้ทำการออกแบบสื่อทางคณิตศาสตร์ที่ใช้แผงไข่ในการทำ
**ไม่ได้เข้าเรียน
ครั้งที่ 9
วันศุกร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้นางสาว วัชรา ค้าสุกร ได้ทำการนำเสนอสื่อที่แก้มาอีกครั้ง ด้วยหัวข้อเรื่อง
หน่วยผลไม้แต่มีการเต้นและร้องเพลงแทนการนับที่เกี่ยวกับคณิศาสตร์มากเกินไป
ต่อจากนั้น นางสาว ทิพยวิมล นวลอ่อน ได้ทำการนำเสนอ สื่อเกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนอนุบาลของประเทศอังกฤษ การใช้ท่าทางแทนตัวเลข การปล่อยให้เด็กได้มีอิสระในการนับ เป็นที่น่าสนใจอย่างมาก
วันศุกร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้นางสาว วัชรา ค้าสุกร ได้ทำการนำเสนอสื่อที่แก้มาอีกครั้ง ด้วยหัวข้อเรื่อง
หน่วยผลไม้แต่มีการเต้นและร้องเพลงแทนการนับที่เกี่ยวกับคณิศาสตร์มากเกินไป
ต่อจากนั้น นางสาว ทิพยวิมล นวลอ่อน ได้ทำการนำเสนอ สื่อเกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนอนุบาลของประเทศอังกฤษ การใช้ท่าทางแทนตัวเลข การปล่อยให้เด็กได้มีอิสระในการนับ เป็นที่น่าสนใจอย่างมาก
ต่อจากนั้นเป็นการนำเสนอ บทความของนางสาว สุชัญญา บุญญะบุตร ด้วยหัวข้อเรื่อง
เรียนคณิตศาสตร์อย่างไร ไม่ให้เป็นยาขม
นางสาว กฤษณา กบขุนทด ได้นำเสนอการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ สาธิตการสอนนับจำนวน
กิจกรรมต่อมา ระบายต่อเติมลวดลาย และตัดต่อภาพ
ครั้งที่ 8
วันศุกร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นวันที่นางสาว วัชรา ค้าสุกร มานำเสอสื่อที่นำไปแก้เมื่อครั้งที่แล้ว โดยครั้งนี้มานำเสนอ โดยหัวข้อเรื่อง
การเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ เกี่ยวกับการนับเลขของเด็กอนุบาล แต่ก็ต้องกลับไปแก้อีกครั้งเพราะข้อมูลที่ได้มาจากคลิปนั้นผิด
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก รวมทั้งเป็นแนวทางในการกำกับ ตรวจสอบ และประเมินผล มาตรฐานการเรียนรู้จัดให้อยู่ภายใต้สาระหลัก ดังนี้
สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ มาตรฐาน ค.ป. 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน และการใช้จำนวนในชีวิตจริง
สาระที่ 2 : การวัด มาตรฐาน ค.ป. 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
สาระที่ 3 : เรขาคณิต มาตรฐาน ค.ป. 3.1 : รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง มาตรฐาน ค.ป. 3.2 : รู้จัก จำแนกรูปเรขาคณิต และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
สาระที่ 4 : พีชคณิต มาตรฐาน ค.ป. 4.1 : เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค.ป. 5.1 : รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม และนำเสนอ
สาระที่ 6 : ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ครูควรคอยสอดแทรกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ตามความเหมาะสมกับระดับอายุ
วันศุกร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นวันที่นางสาว วัชรา ค้าสุกร มานำเสอสื่อที่นำไปแก้เมื่อครั้งที่แล้ว โดยครั้งนี้มานำเสนอ โดยหัวข้อเรื่อง
การเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ เกี่ยวกับการนับเลขของเด็กอนุบาล แต่ก็ต้องกลับไปแก้อีกครั้งเพราะข้อมูลที่ได้มาจากคลิปนั้นผิด
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก รวมทั้งเป็นแนวทางในการกำกับ ตรวจสอบ และประเมินผล มาตรฐานการเรียนรู้จัดให้อยู่ภายใต้สาระหลัก ดังนี้
สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ มาตรฐาน ค.ป. 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน และการใช้จำนวนในชีวิตจริง
สาระที่ 2 : การวัด มาตรฐาน ค.ป. 2.1 : เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
สาระที่ 3 : เรขาคณิต มาตรฐาน ค.ป. 3.1 : รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง มาตรฐาน ค.ป. 3.2 : รู้จัก จำแนกรูปเรขาคณิต และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิดจากการจัดกระทำ
สาระที่ 4 : พีชคณิต มาตรฐาน ค.ป. 4.1 : เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค.ป. 5.1 : รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อม และนำเสนอ
สาระที่ 6 : ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ครูควรคอยสอดแทรกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ตามความเหมาะสมกับระดับอายุ
ครั้งที่ 7
วันที่ พุธ ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นการนำเสนอสื่อการสอนที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ของนางสาว วัชรา ค้าสุกร
หัวข้อเรื่อง
สื่อการสอนคิดสนุก แต่เนื้อหาที่เพื่อนนำเสนอนั้นไม่ตรงตามที่อาจารย์ต้องการจึงต้อนำไปแก้และนำเสนอใหม่อีกครั้งในครั้งหน้า
ต่อจากนางสาว วัชรา ก็เป็นการนำเสนอบทความของ นาวสาว เพ็ญประภา บุญมา
ด้วยหัวข้อเรื่อง เสริมดารเรียนเลขให้เด็กอนุบาล
วันที่ พุธ ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นการนำเสนอสื่อการสอนที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ของนางสาว วัชรา ค้าสุกร
หัวข้อเรื่อง
สื่อการสอนคิดสนุก แต่เนื้อหาที่เพื่อนนำเสนอนั้นไม่ตรงตามที่อาจารย์ต้องการจึงต้อนำไปแก้และนำเสนอใหม่อีกครั้งในครั้งหน้า
ต่อจากนางสาว วัชรา ก็เป็นการนำเสนอบทความของ นาวสาว เพ็ญประภา บุญมา
ด้วยหัวข้อเรื่อง เสริมดารเรียนเลขให้เด็กอนุบาล
โดยคณิตศาสตร์ไม่ใช่แค่ตัวเลขเท่านั้น แต่ยัง ถือเป็นตรรกะอย่างหนึ่งที่เด็กควรเรียนรู้ และนำมาใช้ได้ในชีวิตประจำวัน
ต่อจากนางสาว เพ็ญประภา คือ การนำเสนอวิจัย ของ นาย ปฏิภาณ จินดาดวง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่ได้จากกิจกรรมเพาะปลูก
ครั้งที่ 6
วันพุธ ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์พูดเรื่อง หลักสูตรคณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัย มีทั้งหมด 12 ข้อ ดังนี้
วันพุธ ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์พูดเรื่อง หลักสูตรคณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัย มีทั้งหมด 12 ข้อ ดังนี้
1. การนับ (Counting)
2. ตัวเลข (Number)
3. การจับคู่ (Matching)
4. การจัดประเภท (Classification)
5. การเปรียบเทียบ (Comparing)
6. การจัดลำดับ (Ordering)
7. รูปทรง หรือ เนื้อที่ (Shape and Space)
8. การวัด (Measurement)
9. เซต (Set)
10. เศษส่วน (Fraction)
11. การทําตามแบบหรือลวดลาย (Patterning)
12. การอนุรักษ์หรือ การคงที่ด้านปริมาณ (Conservation)
และอาจารย์ให้กลับมาหาความหมายของหลักสูตรด้านบน ดังนี้
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
1. การนับ เป็นคณิตศาสตร์เกี่ยวกับตัวเลขอันดับแรกที่เด็กรู้จัก เป็นการนับอย่างมีความหมาย เช่น การนับตามลำดับตั้งแต่ 1ถึง 10 หรือมากกว่านั้น
2. ตัวเลข เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน ให้เด็กเล่นของเล่นเกี่ยว กับตัวเลขให้เด็กได้นับและคิดเอง โดยผู้เลี้ยงดูเด็กเป็นผู้วางแผนจัดกิจกรรม
3. การจับคู่ เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกต ลักษณะต่างๆ และจับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกันหรือ อยู่ประเภทเดียวกัน
4. การจัดประเภท เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของ สิ่งต่างๆ ว่ามีความแตกต่าง หรือเหมือนกัน ในบาง เรื่อง และสามารถจัดเป็นประเภทต่าง ๆ ได้
5. การเปรียบเทียบ เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่า รู้จักใช้คำศัพท์ เช่น ยาวกว่า สั้นกว่า หนักกว่า เบากว่า ฯลฯ
6. การจัดลำดับ เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุดหนึ่ง ๆ ตามคำสั่งหรือตามกฎ เช่น จัดบล็อก 5 แท่งที่มีความยาวไม่เท่ากันให้เรียงตามลำดับจากสูงไปต่ำ หรือจากสั่นไปยาง เป็นต้น
7. รูปทรงและเนื้อที่ นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรูปทรงและเนื้อที่จากการเล่นตาม ปกติแล้ว ผู้เลี้ยงดูเด็กยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้ เกี่ยวกับ วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความ ลึกตื้น กว้างและแคบ
8. การวัด มักให้เด็กลงมือวัดด้วยตนเอง ให้รู้จักความยาวและ ระยะ รู้จักการชั่งน้ำหนัก และรู้จักการประมาณอย่างคร่าวๆ ก่อน ที่เด็กจะรู้จักการวัด ควรให้เด็กได้ฝึกฝนการเปรียบเทียบและ การจัดลำดับมาก่อน
9. เซต เป็นการสอนเรื่องเซตอย่างง่าย ๆ จากสิ่งรอบ ๆ ตัว มีการเชื่อมโยงกับสภาพรวม เช่น รองเท้ากับถุงเท้าถือเป็นหนึ่งเซต หรือในห้องเรียนมีบุคคลหลายประเภท แยกเป็นเซตได้ 2 เซต คือ นักเรียน ผู้เลี้ยงดูเด็กประจำชั้น เป็นต้น
10. เศษส่วน ปกติการเรียนเศษส่วนมักเริ่มเรียนในชั้นประถม แต่ผู้เลี้ยงดูเด็กปฐมวัยสามารถสอนได้โดยเน้นส่วนรวมให้เด็กเห็นก่อน การลงมือปฏิบัติเพื่อให้เด็กได้เข้าใจความหมายและมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับครึ่งหรือ ?
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย เป็นการพัฒนาให้เด็กจดจำรูปแบบหรือลวดลาย และพัฒนาการจำแนกด้วยสายตาให้เด็กฝึกสังเกต ฝึกทำตามแบบ และต่อให้สมบูรณ์
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ ช่วงวัย 5 ปีขึ้นไป ผู้เลี้ยงดูเด็กอาจเริ่มสอนเรื่องการอนุรักษ์ได้บ้าง โดยให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้เด็กมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษ์ที่ว่า ปริมาณของวัตถุจะยังคงที่ไม่ว่าจะย้ายที่หรือทำให้มีรูปร่างเปลี่ยนไปก็ตาม
ครั้งที่ 5
วันศุกร์ ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นการนำเสนอบทความของ นางสาวรุงฤดี โสดา บทความที่เพื่อนเลือกว่านั้น มีชื่อว่า เด็กเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์รอบตัวเด็ก
และบทความของ นางสาวรัตนา พงษา เป็นผลงานวิจัย โดย นำเสอเกี่ยวกับการพัฒนาสมองเป็นเป็นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
หลังจากนั้นอาจารย์ ให้ทำการเลือกชนิดอาหารที่ชอบ ลาบ กับส้มตำ เพื่อนนำมาทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบว่า ชนิดไหนที่มีคนชอบมากกว่ากัน
ช่วงสุดท้าย อาจารย์แจกกระดาษให้คนละใบ และเขียนสิ่งในชีวิตประจำวันของเราว่ามีอะไรที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์บ้าง
กิจกรรมต่อไปคือ อาจารย์ให้ฟังเพลงและตบมือตามเสียงดนตรี พร้อมเขียนสัญลักษณ์แทนจังหวะการตบมือ
วันศุกร์ ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นการนำเสนอบทความของ นางสาวรุงฤดี โสดา บทความที่เพื่อนเลือกว่านั้น มีชื่อว่า เด็กเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์รอบตัวเด็ก
และบทความของ นางสาวรัตนา พงษา เป็นผลงานวิจัย โดย นำเสอเกี่ยวกับการพัฒนาสมองเป็นเป็นพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
หลังจากนั้นอาจารย์ ให้ทำการเลือกชนิดอาหารที่ชอบ ลาบ กับส้มตำ เพื่อนนำมาทำการวิเคราะห์เปรียบเทียบว่า ชนิดไหนที่มีคนชอบมากกว่ากัน
ช่วงสุดท้าย อาจารย์แจกกระดาษให้คนละใบ และเขียนสิ่งในชีวิตประจำวันของเราว่ามีอะไรที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์บ้าง
กิจกรรมต่อไปคือ อาจารย์ให้ฟังเพลงและตบมือตามเสียงดนตรี พร้อมเขียนสัญลักษณ์แทนจังหวะการตบมือ
ครั้งที่ 4
วันพุธ ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์แจกกระดาษ 1 คน ต่อ 1 แผ่น ส่งต่อไปเรื่อยๆ จนถึงคนสุดท้าย เหลือกระดาษ ทำให้เรารู้ว่า กระดาษมีมากกว่าจำนวนคน หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้พับกระดษา้เพื่อแบ่งครึ่ง
อธิบายความหมายของ พัฒนาการ พัฒนาการคือความแตกต่างของอายุ อายุเท่าไหร่คสรจะมีพัฒนาการแค่ไหน พัฒนาการของเด็กแต่ละคนแตกต่างกันไป
วันพุธ ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์แจกกระดาษ 1 คน ต่อ 1 แผ่น ส่งต่อไปเรื่อยๆ จนถึงคนสุดท้าย เหลือกระดาษ ทำให้เรารู้ว่า กระดาษมีมากกว่าจำนวนคน หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้พับกระดษา้เพื่อแบ่งครึ่ง
อธิบายความหมายของ พัฒนาการ พัฒนาการคือความแตกต่างของอายุ อายุเท่าไหร่คสรจะมีพัฒนาการแค่ไหน พัฒนาการของเด็กแต่ละคนแตกต่างกันไป
ครั้งที่ 2
วันศุกร์ที่ 19 มกราคท พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ให้ทำ mind mapping สรุปกิจกรรมเป็นแบบแผนการเรียนรู้ ไม่เหมือนกับที่เราเคยทำกันมา การขยายความจากกว้างไปหาข้อมูลที่ระเอียดมากยิ่งขึ้น
หัวข้อในการทำ
1.ประสบการณ์
2.คณิตศาสตร์
3.เด็กปฐมวัย
หลังจากนั้นก็ได้ทำการออกแบบชื่อของตัวเองโดยที่ทำให้ลายเส้นตัวหน้าสือต่อกัน
วันศุกร์ที่ 19 มกราคท พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ให้ทำ mind mapping สรุปกิจกรรมเป็นแบบแผนการเรียนรู้ ไม่เหมือนกับที่เราเคยทำกันมา การขยายความจากกว้างไปหาข้อมูลที่ระเอียดมากยิ่งขึ้น
หัวข้อในการทำ
1.ประสบการณ์
2.คณิตศาสตร์
3.เด็กปฐมวัย
หลังจากนั้นก็ได้ทำการออกแบบชื่อของตัวเองโดยที่ทำให้ลายเส้นตัวหน้าสือต่อกัน
วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
คณิตฯ ปฐมวัย ตัวเลขกับเด็กอนุบาล
โรงเรียนประถม เกรท บาร์ เมืองเบอร์มิงแฮม
เป็นการสอนคณิตศาสตร์ที่ใกล้ตัวเด็ก เพื่อให้เด็กมีความมั่นใจในการแสดงออกมากยิ่งขึ้น
รายการตอนนี้จะไปดูกันว่า ครูที่โรงเรียนประถมเกรตบาร์
ในเบอร์มิงแฮมมีวิธีอย่างไรในการสังเกตการณ์เด็ก ๆ
และวางแผนการสอนคณิตศาสตร์ในชั้นอนุบาลและเตรียมประถม
ครูอแมนดา แม็กเคนนา หัวหน้าครูระดับชั้นป.1-2
เชื่อว่าการเรียนคณิตศาสตร์ควรสนุกและเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน
ที่โรงเรียนเกรตบาร์
การเรียนรู้อย่างอิสระผ่านการเล่นเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์ของนักเรียน
ขณะนี้โรงเรียนกำลังมุ่งส่งเสริมให้เด็ก ๆ
รู้สึกเป็นอิสระที่จะขบแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ด้วยต้วเอง และพัฒนาทักษะเช่น
การจดจำตัวเลข การจัดลำดับและการคำนวณไปด้วย ในรายการ ครูจะสาธิตวิธีประเมินเด็ก ๆ
ผ่านการสังเกตการณ์ในแต่ละวัน
และวิธีนำข้อมูลที่ได้เข้าที่ประชุมครูเพื่อวางแผนการสอนต่อไป โรงเรียนเชื่อมั่นอย่างยิ่งว่า
หากเด็ก ๆ รู้สึกสนุกกับวิชาเลขตั้งแต่ชั้นเล็ก ๆ แล้ว ผลการเรียนรู้ในชั้นปีอื่น
ๆ ก็จะเปลี่ยนไปในทางดีด้วย
คำสำคัญ : การสอนคณิตศาสตร์ เด็กเล็ก เกม กิจกรรมนอกห้องเรียน
เรียนรู้ผ่านชีวิตประจำวัน เลขในชีวิตประจำวัน การสร้างแรงบันดาลใจ สื่อการสอน
การวัดประเมิน การสังเกตการณ์ การทำงานเป็นทีม การประชุมครู
การวางแผนการสอนร่วมกัน การแข่งขัน ความสนุกในการเรียนคณิตศาสตร์ สนุกกับตัวเลข
การจัดลำดับ การจดจำตัวเลข การคำนวณ คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
การเรียนรู้ผ่านการเล่น การศึกษาอิสระ การเรียนรู้อย่างอิสระ
ความร่วมมือระหว่างครูและผู้ปกครอง scaffolding การแนะแนว
การเรียนรู้ด้วยตัวเอง ทักษะการคิดวิเคราะห์
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT
(Distance Learning Information Technology)
http://www.dlit.ac.th
บทความเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
|